API เช็กสลิปโอนเงิน
ลูกค้าโอนปุ๊บ เว็บเช็กสลิปโอนเงินปั๊บ รู้ผลทันที ไม่ต้องรอฝ่ายบัญชีตรวจสอบ
SlipOK API เอาใจสาย Dev เช็กสลิปโอนเงินละเอียดยิบ! เพียงฝังโค้ดของเราบนเว็บไซต์ของคุณ ให้การตรวจสลิปง่ายขึ้น รายงานผลทันที
ด้วยการอ่านค่าจาก QR Code บนสลิป
และ Recheck ข้อมูลผ่านธนาคารแห่งประเทศไทย
ไม่ต้องให้ลูกค้ารอยืนยัน 3 – 5 ชั่วโมงจากทีมบัญชี
แถมยอดเงินก็เข้าบัญชีโดยตรง ไม่ต้องรอรอบโอนจาก Third-Party อีกด้วย!!
3 เหตุผล ที่คุณควรเลือกใช้
SlipOK API เช็กสลิปโอนเงิน
ยกระดับ Platform ของคุณ
ให้เช็กสลิปโอนเงินได้ทันที!
เพียงให้ลูกค้าอัพโหลดรูปสลิป
โดยไม่ต้องให้ลูกค้ารอนาน
ลดความยุ่งยากและค่าใช้จ่าย
มากมายจากการติดต่อธนาคาร
เพื่อขอต่อ API เอง
สามารถอ่านค่าได้ทั้งจากรูปสลิป
ที่มี QR Code และ Code ที่
ถอดจาก QR Code ในสลิป
การันตีเช็กสลิปโอนเงินง่าย สะดวก ด้วยเสียงจากลูกค้า
เย็นศิระ ตันติฐากูร
พิชญุตม์ กุศลสิทธิรัตน์ (คุณไบรท์)
สันติ วงศ์อนันตญา
ชญาธาร อังคสุวรรณ
สุทธิกา สายะสิต
ศุภพงษ์ อัศววุฒิพงษ์ (คุณโบ๊ท)
ปฏิภาณ เพ็งเภา
กานต์ ยงศิริวิทย์ (คุณหมี)
และยังได้รับความไว้วางใจจากลูกค้าที่ใช้งาน
กว่า 15,000 ราย
เริ่มต้นเช็กสลิปโอนเงิน เพียง 4 ขั้นตอนง่ายๆ
1Add LINE @slipok
3เลือกช่องทางตรวจสอบ
เป็น ‘API’
และกรอกโค้ดที่ได้
ในเว็บไซต์ของคุณ
2กรอกข้อมูลธุรกิจของท่าน
4เริ่มต้นใช้งานได้เลย!
คำถามที่ถูกถามบ่อยของบริการ API เช็กสลิปโอนเงิน
หากต้องการให้ระบบ SlipOK เก็บค่าและนำค่าไปแสดงเป็นข้อมูลการโอนใน Line liff ของ “ข้อมูลโอนวันนี้” ทางร้านค้าจะต้องส่งเป็น log ดังตัวอย่างในหน้า API Guide
การใช้งานผ่าน API ปัจจุบัน ร้านค้าสามารถแนบรูปสลิปได้ตามรูปแบบดังนี้
- { data: string } = ค่าที่อ่านได้จาก QR Code ที่อยู่บริเวณมุมขวาล่างของสลิปโอนเงิน
- { files: File } = รูปภาพสลิป รองรับแค่นามสกุล JPEG, PNG หรือ JPG
- { url: string } = url ของรูปภาพสลิป
สามารถดูข้อมูลเพิ่มเติมต่อได้ที่ API Guide
สำหรับการใช้งานผ่าน API ทางระบบ SlipOK จะรับข้อมูลสลิปไปตรวจสอบกับฐานข้อมูลส่วนกลาง และส่งข้อมูลบนสลิปทั้งหมดกลับไปผ่าน API ทั้งนี้ทางผู้พัฒนาระบบจะต้องเป็นคนเก็บข้อมูลสลิปเองเพื่อยืนยันข้อมูลบนสลิปอีกครั้งหนึ่ง ทางระบบ SlipOK ไม่ได้เก็บข้อมูลเอาไว้ให้ รวมไปถึงกรณีสลิปซ้ำ ทางผู้พัฒนาระบบจะต้องนำ response ข้อมูลต่าง ๆ มาตรวจสอบกับฐานข้อมูลของทางร้านค้า เช่น จำนวนเงินที่ลูกค้าต้องชำระ เป็นต้น โดยข้อแนะในการทำระบบหลังบ้านมีดังนี้
- ข้อมูลเรียกเก็บเป็นจำนวนเงินเท่าไหร่ (เพื่อป้องกันการตัดต่อเปลี่ยนแปลงยอด)
- เก็บบันทึกข้อมูลสลิปในฐานข้อมูล (เพื่อป้องกันสลิปซ้ำ)
สามารถดูข้อมูลเพิ่มเติมต่อได้ที่ API Guide